ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุพระราม2-สุขสวัสดิ์

ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุบางนา พระราม 2 สุขสวัสดิ์ พักฟื้นหลังผ่าตัด ทำกายภาพบำบัดและดูแลโดยพยาบาลวิชาชีพ ราคายุติธรรม


ใส่ความเห็น

ภาวะโรคกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ

ภาวะโรคกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ

โรคกระดูกพรุนเป็นภาวะที่มวลกระดูกลดลงและโครงสร้างการเรียงตัวภายในของกระดูกมีการเปลี่ยนแปลงและเสื่อมไป ซึ่งจะทาให้กระดูกเปราะบางและเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหัก

บุคคลที่เสี่ยงต่อภาวะกระดูกพรุน ได้แก่ บุคคลที่ ใช้สเตอรอยด์ในรักษาโรคเป็นระยะเวลานาน มีโรคตับหรือไทรอยด์ มีดรรชนีมวลกายน้อยกว่า19 กิโลกรัม/เมตร2 สูบบุหรี่ มีประวัติล้มบ่อย

Untitled.pngj

 

สาเหตุของโรค

1การไม่ได้รับแคลเซียมที่เพียงพอ โดยเฉพาะในช่วงวัยเด็กและวัยหนุ่มสาว ทำให้มวลกระดูกไม่หนาแน่น และกระดูกพรุนได้ง่าย
2.กรรมพันธุ์ ซึ่งมีโอกาสเป็นสูงถึง 80% ส่วน 20% นั้นขึ้นอยู่กับลักษณะในการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกาย
3.การทานยาแก้โรคบางอย่างที่นำไปสู่การลดความหนาแน่นของกระดูก เช่น คอร์ติโซนยาแก้โรคหืดยาเฮปาริน การรักษาโดยการฉายรังสี หรือการให้สารเคมี เป็นต้น
4.การสูบบุหรี่ และดื่มสุราเป็นประจำ

5.การดื่มเครื่องดื่มที่มีกาเฟอีน เช่น กาแฟ น้ำอัดลม ชา เป็นต้น ทำให้กระดูกเสื่อมง่ายขึ้น
6.การลดลงของฮอร์โมนเอสโตรเจนของหญิงวัยหมดประจำเดือน ทำให้ประสิทธิภาพในการดูดซึมแคลเซียมในร่างกายลดลง เป็นสาเหตุให้เกิดโรคกระดูกพรุนเพิ่มขึ้น

 

Untitled.pngkk

7.การรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมต่ำในวัยชรา ทำให้การดูดซึมแคลเซียมในร่างกายลดลง เป็นสาเหตุให้เกิดโรคกระดูกพรุนเพิ่มขึ้น
8.การสูญเสียแคลเซียม ผ่านทางผิวหนัง ปัสสาวะและอุจจาระ และไม่ได้รับการทดแทนเพื่อรักษาระดับแคลเซียมในกระดูก
9.การไม่เคลื่อนไหวหรือออกกำลังกาย เมื่อวัยชราโรคกระดูดพรุนเกิดขึ้นรุนแรง ถ้าขาดการออกกำลังกาย และการสูญเสียความแข็งแรงของกระดูก มักเกิดขึ้นในช่วงที่ไม่ได้เคลื่อนไหว เช่น ในขณะนั่งรถเข็น หรือนอนพักฟื้น
10.ขาดวิตามินดี เพราะในวิตามินดีมีความจำเป็นในการดูดซึมแคลเซียมไปใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอ

การป้องกันภาวะกระดูกพรุน
            1. ออกกำลังกายเป็นกิจวัตร โดยเฉพาะกลางแจ้งตอนที่มีแดดอ่อน เช่น เวลาเช้า หรือเย็น 
            2. เมื่อมีความเจ็บป่วยไม่ว่าจากสาเหตุใด ควรรีบทำกายภาพบำบัด หรือเคลื่อน ไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้เร็วที่สุดเท่าที่สภาพร่างกายจะเอื้ออำนวย 
            3. รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง เช่น ปลากระป๋อง ซึ่งสามารถรับประทาน กระดูกปลาได้ หรือดื่มนมพร่องไขมันเนย ผักผลไม้ เป็นต้น 
            4. งดการดื่มสุรา และสูบบุหรี่ 
            5. ไม่ควรซื้อยารับประทาน เช่น ยาลูกกลอน เพราะมักจะมีสารเสตียรอยด์ผสมอยู่ ทำให้กระดูกพรุนได้โดยไม่รู้ตัว

โรคกระดูกพรุน ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุด้อยลง และมักมีอาการเจ็บป่วยได้ง่าย ดังนั้น จึงควร ดูแลผู้สูงอายุ ป้องกันเอาไว้ก่อนที่จะสายเกินไปนะคะ

 

ความรู้โดยนักกายภาพบำบัด  นางสาวพิมพ์ธัญญา  หมันเทศมัน  ก.11044


ใส่ความเห็น

ศูนย์แลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮมแคร์ ภาวะโรคกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ

ภาวะโรคกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ

โรคกระดูกพรุนเป็นภาวะที่มวลกระดูกลดลงและโครงสร้างการเรียงตัวภายในของกระดูกมีการเปลี่ยนแปลงและเสื่อมไป ซึ่งจะทาให้กระดูกเปราะบางและเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหัก

บุคคลที่เสี่ยงต่อภาวะกระดูกพรุน ได้แก่ บุคคลที่ ใช้สเตอรอยด์ในรักษาโรคเป็นระยะเวลานาน มีโรคตับหรือไทรอยด์ มีดรรชนีมวลกายน้อยกว่า19 กิโลกรัม/เมตร2 สูบบุหรี่ มีประวัติล้มบ่อย

ศูนย์แลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮมแคร์

ศูนย์แลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮมแคร์

 

สาเหตุของโรค

1การไม่ได้รับแคลเซียมที่เพียงพอ โดยเฉพาะในช่วงวัยเด็กและวัยหนุ่มสาว ทำให้มวลกระดูกไม่หนาแน่น และกระดูกพรุนได้ง่าย
2.กรรมพันธุ์ ซึ่งมีโอกาสเป็นสูงถึง 80% ส่วน 20% นั้นขึ้นอยู่กับลักษณะในการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกาย
3.การทานยาแก้โรคบางอย่างที่นำไปสู่การลดความหนาแน่นของกระดูก เช่น คอร์ติโซนยาแก้โรคหืดยาเฮปาริน การรักษาโดยการฉายรังสี หรือการให้สารเคมี เป็นต้น
4.การสูบบุหรี่ และดื่มสุราเป็นประจำ

5.การดื่มเครื่องดื่มที่มีกาเฟอีน เช่น กาแฟ น้ำอัดลม ชา เป็นต้น ทำให้กระดูกเสื่อมง่ายขึ้น
6.การลดลงของฮอร์โมนเอสโตรเจนของหญิงวัยหมดประจำเดือน ทำให้ประสิทธิภาพในการดูดซึมแคลเซียมในร่างกายลดลง เป็นสาเหตุให้เกิดโรคกระดูกพรุนเพิ่มขึ้น

 

ศูนย์แลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮมแคร์

ศูนย์แลผู้สูงอายุแสนสิริ โฮมแคร์

7.การรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมต่ำในวัยชรา ทำให้การดูดซึมแคลเซียมในร่างกายลดลง เป็นสาเหตุให้เกิดโรคกระดูกพรุนเพิ่มขึ้น
8.การสูญเสียแคลเซียม ผ่านทางผิวหนัง ปัสสาวะและอุจจาระ และไม่ได้รับการทดแทนเพื่อรักษาระดับแคลเซียมในกระดูก
9.การไม่เคลื่อนไหวหรือออกกำลังกาย เมื่อวัยชราโรคกระดูดพรุนเกิดขึ้นรุนแรง ถ้าขาดการออกกำลังกาย และการสูญเสียความแข็งแรงของกระดูก มักเกิดขึ้นในช่วงที่ไม่ได้เคลื่อนไหว เช่น ในขณะนั่งรถเข็น หรือนอนพักฟื้น
10.ขาดวิตามินดี เพราะในวิตามินดีมีความจำเป็นในการดูดซึมแคลเซียมไปใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอ

การป้องกันภาวะกระดูกพรุน
            1. ออกกำลังกายเป็นกิจวัตร โดยเฉพาะกลางแจ้งตอนที่มีแดดอ่อน เช่น เวลาเช้า หรือเย็น 
            2. เมื่อมีความเจ็บป่วยไม่ว่าจากสาเหตุใด ควรรีบทำกายภาพบำบัด หรือเคลื่อน ไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้เร็วที่สุดเท่าที่สภาพร่างกายจะเอื้ออำนวย 
            3. รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง เช่น ปลากระป๋อง ซึ่งสามารถรับประทาน กระดูกปลาได้ หรือดื่มนมพร่องไขมันเนย ผักผลไม้ เป็นต้น 
            4. งดการดื่มสุรา และสูบบุหรี่ 
            5. ไม่ควรซื้อยารับประทาน เช่น ยาลูกกลอน เพราะมักจะมีสารเสตียรอยด์ผสมอยู่ ทำให้กระดูกพรุนได้โดยไม่รู้ตัว

โรคกระดูกพรุน ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุด้อยลง และมักมีอาการเจ็บป่วยได้ง่าย ดังนั้น จึงควร ดูแลผู้สูงอายุ ป้องกันเอาไว้ก่อนที่จะสายเกินไปนะคะ

 

ความรู้โดยนักกายภาพบำบัด  นางสาวพิมพ์ธัญญา  หมันเทศมัน  ก.11044